ISSN: 1906-117X

วารสาร

การยกระดับการเรียนรู้สังคมศึกษาด้วยกระบวนการคิดตัดสินใจ

Enhancing Social Studies learning by enhancing decision-making skill
ขอบเขต: สังคมศาสตร์เพื่อการศึกษา

ดิษลดา เพชรเกลี้ยง

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

รณกฤต เพชรเกลี้ยง

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

ทักษะการคิดถือเป็นทักษะที่ควรปลูกฝังในตัวผู้เรียน โดยเฉพาะทักษะการคิดตัดสินใจที่มีส่วนช่วยแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ต้องเผชิญ โดยในบริบทของสถานศึกษามีแนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการตัดสินใจของผู้เรียนใน 2 รูปแบบ คือ การตัดสินใจแบบเป็นขั้นตอนและการตัดสินใจโดยประยุกต์ใช้หลักการ SWOT Analysis ซึ่งรูปแบบการตัดสินใจในลักษณะดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยใบงานเป็นตัวกลางในการจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นทักษะการคิดประกอบการตัดสินใจ ให้ผู้เรียนเห็นถึงกระบวนการที่เป็นลำดับขั้นตอนอย่างชัดเจนจากการคิดผ่านการเขียน ซึ่งมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดตัดสินใจที่เป็นระบบแบบแผนมากยิ่งขึ้น

Abstract

Developing decision-making skill in classroom is of importance in order that a learner is able to make a decision when solving a problem. In the context of educational institutions, there are two approaches in enhancing learners’ decision-making skills: decision-making process and decision-making based on SWOT analysis. By enhancing learners’ skills, learners participate in a classroom activity in which classroom worksheets are deployed by participating in a classroom activity, it is hoped that learners realize the importance of critical decision-making process. The activity aims to improve learners’ decision-making process.

คำสำคัญ

การเรียนรู้สังคมศึกษา, ทักษะการตัดสินใจ

Keywords

Social Studies Learning, Decision-making Skill

เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.
จิรภัทร์ ธิปัญญา และชัยรัตน์ โตศิลา. (2563). ผลการใช้กิจกรรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชันเพื่อเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และทักษะการตัดสินใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.
มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning).วารสารวิชาการ, 5(2), 11-17.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2560). หลักการวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis). สืบค้นจากhttps://www.stou.ac.th/Offices/rdec/headquater/uploadSWOT.pdf.
วิฑูรย์ ตันศิริคงคล. (2542). AHP: กระบวนการตัดสินใจที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก. กรุงเทพฯ : กราฟฟิค แอนด์ ปริ้นติ้ง เซ็นเตอร์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). รายงานการเสวนาทางวิชาการ มิติไหม่ของการประเมินผลการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
สันติ บุญภิรมย์. (2557). การบริหารจัดการในห้องเรียน = Classroom Management. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.