ISSN: 1906-117X

วารสาร

การพัฒนางานประจำของครูสู่งานวิจัย

THE DEVELOPMENT OF THE TEACHER'S ROUTINE TO RESEARCH
ขอบเขต: การบริหารการศึกษา

พนัส จันทร์ศรีทอง

มหาวิทยาลัยเกริก

ณัฐมน พันธ์ุชาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

ครูเป็นองค์ประกอบที่สำคัญต่อการชี้นำ ดำเนินการ สร้างสรรค์ แก้ปัญหาและพัฒนาการศึกษา ในทุกระดับการเรียนรู้ มีความสำคัญในการสร้างคนดี คนเก่ง ไปพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้มี ความเจริญก้าวหน้า บทบาทหน้าที่ของครู งานประจำของครูนั้นมีมากมายหลายด้าน บางงานอาจราบรื่น บางงานอาจเกิดปัญหา ซึ่งงานของครูทุกงานล้วนแล้วแต่จำเป็นต้องใช้ความตั้งใจทุ่มเทให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดี มีคุณภาพ หากแต่แนวทางการพัฒนาให้งานดีมีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการเข้าใจรายละเอียดและขั้นตอน วิธีการต่างๆ การใช้งานวิจัยเป็นเครื่องมือในการพัฒนา แก้ปัญหา แสวงหาองค์ความรู้ใหม่ หรือขยายองค์ความรู้เดิมที่มีให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นย่อมทำให้การทำงานประจำของครูมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการปฏิบัติงานที่สะดวก รวดเร็ว และมีมาตรฐาน “การพัฒนางานประจำของครูสู่งานวิจัย” เป็นส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน เป็นส่วนหนึ่งของแนวทางในการส่งเสริมพัฒนา การที่จะพัฒนาไปสู่งานวิจัยนั้นจำเป็นต้องใช้ปัจจัยที่หลากหลายในการสนับสนุนส่งเสริม ซึ่งส่งผลไปสู่ผู้เรียน หน่วยงาน องค์กร สังคม และประเทศชาติต่อไป

Abstract

Teachers are an important element in guiding planning, carrying out, developing, problem-solving, and growing education. They also play a crucial role in producing decent and skilled people who will advance society and the nation. There are numerous parts to a teacher's job and activity level. Some activities could be easy to complete, while others might be problematic. Every teacher's job requires commitment to produce high-quality results, but developing high-quality work takes time to comprehend specifics and methods, to use research as a tool for problem-solving, to seek out new knowledge, or to broaden this same body of the knowledge, thereby increasing the efficiency of the teacher's daily tasks. Resulting in procedures that are quick, easy, and uniform It is a means of promotion

คำสำคัญ

ครู, วิจัย, การพัฒนางานประจำของครูสู่งานวิจัย

Keywords

teacher, research, the development of the teacher's routine to research

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.
2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
ณัฐมน พันธุ์ชาตรี. (2559). การสร้างเสริมคุณลักษณะความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2550 ). ครูกับการใช้ประโยชน์งานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. การประชุมวิชาการ การวิจัยใน
ชั้นเรียน ครั้งที่ 4 2550 30 – 31 ตุลาคม 2550ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ.
ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันท์. (2563). ความเป็นครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.
พรรณอร อุชุภาพ. 2561. การศึกษาและวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัสราณัฏฐ โพธิอาสน์ และปนัฐษรณ์ จารุชัยนิวัฒน์. (2563). บทบาทครูอนุบาลในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2. Silpakorn Educational Research Journal, 12(2), 474-490.
วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์. (2558). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ Action Research. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 2(1):
29-49.
สมปอง พะมุลิลา. (2561). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ. http://www.nurse.ubu.ac.th/new/?q=node/740.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2540). รวมบทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สหไทย ไชยพันธุ์. (2553). ครูผู้สอนกับแนวปฏิบัติในการทำวิจัย : วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. วารสาร
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 2(3), 99-114.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ. (2565). R2R คืออะไร... ทำไมต้อง R2R. https://nich.anamai.moph.go.th
/web-pload/.pdf.
สุวิมล ว่องวานิช. (2548). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2564). มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.
อุทัย รตนปัญโญ และคณะ. (2562). การตระหนักรู้เท่าทันการเปลี่ยนสังคมเศรษฐกิจ และวิถีชีวิต จาก
กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ในศตวรรษ ที่ 21. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 8(3).
อุบล เลี้ยววาริณ. (2556). ความเป็นครูวิชาชีพ “บทบาทหน้าที่และภาระงานครู”. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
อัจฉรา สระวาสี. (2557). การพัฒนารูปแบบการประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ของนิสิต
ปฏิบัติการสอนและฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.วารสารไทยปีที่ 8 ฉบับที่
2 พ.ศ. 2557.
Best, J.W. & Kahn, J.V. (2006). Research in Education. 10th ed. Boston: Pearson Education.
Blaxter, L., Hughes, C., & Tight, M. (2010). How to research. McGraw-Hill Education (UK).
Kerlinger, F.N. & Lee, H.B. (2000). Foundations of Behavioral Research. 4th ed. New York: Thomson Learning.
Samlee Plianbangchang. (2017). A view on routine to research (R2R). Journal of Health Research, 31(6), 417-419.