ISSN: 1906-117X

วารสาร

เสริมสมรรถนะผู้เรียนด้วยแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก

Enhancing Student Competencies Using the Concept of Active Learning
ขอบเขต: หลักสูตรการสอน

อิทธิเดช น้อยไม้

มหาวิทยาลัยบูรพา

ณัฐวรรณ เฉลิมสุข

มหาวิทยาลัยบูรพา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก และกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่ช่วยเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student – Centered Learning) มุ่งจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติอย่างตื่นตัว ทั้งด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคม ตามความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการเรียน การปฏิบัติงาน การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ และดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติสุขในฐานะพลเมืองดีของสังคม บทความนี้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับ ความหมายของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ปรัชญา ทฤษฎี และแนวคิดที่เป็นพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยเสริมสมรรถนะผู้เรียน และกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกที่ช่วยเสริมสมรรถนะผู้เรียน

Abstract

This article aims to present an understanding of the concept of active learning management and the active learning management method that enhances student competencies. Active learning is a student - centered learning management which creates experience with active action involves intellectual, physical, emotional and social according to the aptitude and ability of the learners. The active learning management method aims to provide learners with the necessary competencies for their studies, work performance, problems solving in various situations and living a normal life as a good citizen. This article presents the definitions of active learning management, philosophies, theories and the concepts of active learning management, competency-based learning, and competency-based active learning management.

คำสำคัญ

การจัดการเรียนรู้เชิงรุก, สมรรถนะ

Keywords

: Active Learning, Competency

เอกสารอ้างอิง

บังอร เสรีรัตน์. (2565). ครูกับการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 14(1), 1-11.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2561). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2565). กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุก. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สาริตา บัวเขียว. (2559). Scaffolding ช่วยเสริมสร้างการพัฒนาการเรียนรู้อย่างไร. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์, 18(1), 1-15.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก. นนทบุรี: 21 เซ็นจูรี่.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564 ก). กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564 ข). แนวทางการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก : ถอดบทเรียน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. สมุทรปราการ: เอส.บี.เค. การพิมพ์.
Bransford, J., Brown, A. & Cocking, R., (2000). How People Learn: Brain, Mind, and Experience & school. Washington, D.C.: National Academy Press.
Brame, C. (2016). Active Learning. Vanderbilt University Center for Teaching. Retrieved from https://cft.vanderbilt.edu/active-learning/
Cambridge Assessment International Education. (2022 A). Active Learning. Retrieved from https://www.cambridgeinternational.org/Images/271174-active-learning.pdf
Cambridge Assessment International Education. (2022 B). Getting Started with Active Learning. Retrieved from https://www. cambridge-community.org.uk/professional-development/gswal/index.htm
Fedler, R.M. and Brent, R. (1996). Navigating the Bumpy Road to Student-Centered Instruction. Journal of College Teaching, 44.
Gleason, B.L., Peeters, M.J., Resman - Targoff, B.H., Karr, S., McBane, S., Kelley, K., Thomas, T & Denetclaw, T.H. (2011). An Active – Learning Strategies Primer for Achieving Ability – Based Educational outcomes. American Journal of Pharmaceutical Education. 75(9), 186. Retrieved from https://doi.org/10.5688/ajpe759186
McKinney, K. & Heyl, B. (2008). Sociology Through Active Learning. 2nd ed. Thousand Oaks, CA: SAGE/Pine Forge Press.