ISSN: 1906-117X

วารสาร

ศาสตร์พระราชา : องค์ความรู้ในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

The King’s Philosophy, Country Development, Sustainable Development
ขอบเขต: การบริหารการศึกษา

ณรงค์วัฒน์ มิ่งมิตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

ศาสตร์พระราชาเป็นองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ชีวิตวัฒนธรรม และนวัตกรรม ที่เกิดจาก คิดค้น ศึกษา ค้นคว้าของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สังคม และประเทศชาติ การดำเนินการเพื่อให้เกิดความเป็นอยู่ที่ดีมี 3 ลักษณะ คือ การสอนหรือชี้แนะ การแก้ปัญหา และการให้ความยั่งยืน ศาสตร์พระราชามีความสัมพันธ์ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยเฉพาะหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นปรัชญาที่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันตนเองและชุมชนสังคม การพัฒนาที่ยั่งยืนหมายรวมถึงการพัฒนา 3 ด้าน คือเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน ศาสตร์พระราชาจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ แนวทางการเรียนรู้ศาสตร์พระราชา หัวใจของศาสตร์พระราชา และศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน หลักคิดของศาสตร์พระราชาหากนำมาประพฤติปฎิบัติอย่างเข้าใจลึกซึ้งแล้วจะส่งผลต่อการพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติอย่างยั่งยืนในทุกมิติ

Abstract

The King’s Philosophy is a body of knowledge in science, liberal arts, cultural life, and innovations arising from the invention, study and research of His Majesty King Rama IX, contributes to the development of the quality of life of the people, society and the nation. There are three aspects of well-being action: teaching or guiding, problem solving, and sustainability. The King’s Philosophy is related to sustainable development, especially the philosophy of sufficiency economy, which is a philosophy that can build self-immunity and social community. Sustainable development includes three areas of development: economic, social and environmental that are connected and interrelated. The King’s Philosophy is divided into 3 types: the approach to learning the King's science, the heart of the royal science, and the King’s Philosophy for Sustainable Development. The principles of the King’s Philosophy, if applied in a profound way, will affect the sustainable development of oneself, society and the nation in all dimensions.

คำสำคัญ

ศาสตร์พระราชา, การพัฒนาประเทศ, การพัฒนาที่ยั่งยืน

Keywords

The King’s Philosophy, Country Development, Sustainable Development

เอกสารอ้างอิง

เกษม วัฒนชัย. (2558). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเข้มแข็งของโรงเรียน. กรุงเทพฯ: ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2559). วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริงเอกลักษณ์ และความเป็นอื่น. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ดนัย กิติภรณ์. (2544). ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปนัดดา ดิศกุล. (2560). คือศาสตร์พระราชา. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/home
ประยุทธ์ จันทร์โอชา. (2559). ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. ม.ป.ท.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2555. (2565). สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/dictionary/
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2549). การพัฒนาที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่10). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมล
วิษณุ เครืองาม. (2560). การปาฐกถาพิเศษ ศาสตร์พระราชาคือศาสตร์แห่งแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สมบัติ นพรัก. (2561). ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาศาสตร์การบริหาร. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.
สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2550). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: สํานักการพิมพ์.
สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2560). รายงานของคณะกรรมการ ขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภา
ขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศ เรื่องการขับเคลื่อน สืบสานศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิรูปประเทศ.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รัฐสภา.
The Global Goals for Sustainable Development. (2018). From MDGs to SDGs. Retrieved from:
http://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/
United Nations. (2015 ). The Road to Dignity by 2030 : Ending Poverty, Transforming All Lives
and Protecting the Planet. Retrieved from: http://www.un.org/en/development/des
a/publications/files/2015 / 01/SynthesisReportENG.pdf