ISSN: 1906-117X

วารสาร

เปลี่ยนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนสู่วิถีชีวิตของครูอนุบาล

Turning Classroom Action Research into a Way of Life for Preschool teachers
ขอบเขต: หลักสูตรการสอน

วณิชชา สิทธิพล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางและมุมมองใหม่สำหรับการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่ผสมผสานเข้าไปกับวิถีการทำงานในแต่ละวันของครูอนุบาล ซึ่งจากเดิมครูอนุบาลประสบปัญหา คือ ไม่สามารถค้นหาปัญหาในการทำวิจัยได้ ขาดที่ปรึกษาหรือผู้ที่คอยแนะนำ ทำให้การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนไม่ประสบความสำเร็จและเกิดทัศนคติเชิงลบ แต่อย่างไรตาม การทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเป็นกระบวนการสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาครูและเด็ก โดยครูสวมบทบาทเป็นครูนักวิจัยที่สังเกตเด็กเป็นรายบุคคลอย่างละเอียดเพื่อค้นหาปัญหา พร้อมทั้งแสวงหาวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบเพื่อเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนรู้เดิมเป็นการเรียนรู้เชิงรุก ส่งผลให้เด็กได้รับการพัฒนาอย่างสมวัยและเสริมสร้างการเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ ในขณะเดียวกัน ครูได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ เกิดการพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ จนกลายเป็นครูมืออาชีพที่สามารถเติมเต็มพัฒนาการและเรียนรู้ของเด็กได้ นอกจากนี้ หากครูอนุบาลมีการดำเนินการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพจะส่งผลให้ครูสามารถพัฒนาความคิดของตนเองได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่รู้สึกโดดเดี่ยว และสามารถพัฒนาเด็กในชั้นเรียนได้อย่างสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น

Abstract

This academic paper aimed to present new guidelines and perspectives for classroom practice research integrated into the work routine of preschool teachers. In the past, preschool teachers faced particular problems, such as not being able to identify the problem when conducting research and a lack of mentors or people to offer guidance. This resulted in unsuccessful classroom action research and negative attitudes. However, classroom action research is a critical process for the development of teachers and children. The teacher takes on the role of a researcher who must carefully observe the children individually to identify problems, systematically inquire about solutions, and change traditional learning methods to active learning. As a result, children are developed according to their age and can enhance their learning to the fullest potential. Meanwhile, teachers create new knowledge and the continuous development of personality and professionalism until becoming proficient teachers who can effectively complement the development and learning of children. In addition, if preschool teachers conduct classroom action research using a professional learning community, teachers can develop their ideas more quickly on their own without feeling alone, as well as develop children in the classroom more creatively.

คำสำคัญ

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน, ครูอนุบาล, การพัฒนาทางวิชาชีพ

Keywords

Classroom action research, Preschool teachers, Professional development

เอกสารอ้างอิง

จันทวรรณ พลวัฒน์ และ สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). ปัจจัยเชิงสาเหตุและผลของเวลาการเรียนรู้เชิงวิชาการในชั้นเรียนวิจัยการศึกษาของนักศึกษาครู. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 10 (4), 168-181.
จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย และ ชัยยุธ มณีรัตน์. (2562). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 9(2), 1-11.
ชาริณี ตรีวรัญญู. (2560). การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพด้วยการพัฒนาบทเรียนร่วมกันซ แนวคิดและแนวทางสู่ความสำเร็จ. วารสารครุศาสตร์, 45(1), 299 – 319.
นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์. (2560, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนโดยใช้กระบวนการวิจัย:
“การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน”. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 9(1), 151-163.
พัชนี กุลฑานันท์, พิสิฐ เมธาภัทร, ไพโรจน์ สถิรยากร, และมนต์ชัย เทียนทอง. (2554). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมครูแบบผสมผสานในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(2), 97-115.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2557). ปฏิบัติการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ครูทุกคนทำได้ไม่ยาก. กรุงเทพมหานคร:
เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2560). ทักษะ 7C ของครู 4.0. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2561). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(4), 157-165.
วณิชชา สิทธิพล. (2562). พัฒนากระบวนการเสริมสร้างความสามารถในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูอนุบาลโดยใช้หลักการประเมินเพื่อการเรียนรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69956
สหไทย ไชยพันธุ์. (2553). ครูผู้สอนกับแนวปฏิบัติในการทำวิจัย : วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 2(3), 99-114.
สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา. (2559). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. สืบค้นจาก http://cid.buu.ac.th/information/doc-6.pdf
สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2553). การพัฒนาครูทั้งระบบตามยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 – 2561). สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2012/7/1860_5273.pdf
สุวิมล ว่องวาณิช. (2559). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bartlett, J. (2015). Outstanding assessment for learning in the classroom. NY: Routledge.
Clark, J. S., Porath, S., Thiele, J., and Jobe, M. (2020). Action Research.
Retrieved from https://newprairiepress.org/ebooks/34
Dufour, R., Dufour, R., & Eaker, R. (2008). Revisiting professional learning communities at
work: New insights for improving schools. Bloomington: Solution Tree.
Guy, R. H. (2011). Doing your early years research project (2nd ed). UK: SAGE.
Hord, S. M., Roussin, J. L., & Sommers, W. A. (2010). Guiding professional learning communities: Inspiration, challenge, surprise, and meaning. California: Corwin Press.
Johnson, A. P. (2012). A short guide to action research (4th ed.). USA: Pearson Education
Mertler, C. (2014). Action research: Improving schools and empowering educators (4th ed.). USA: SAGE.
Mills, G. E. (2011). Action research: A guide for the teacher researcher (4th ed.). NJ: Pearson.
Mukherji, P. and Albon, D. (2015). Research methods in early childhood: An introductory guide. UK: SAGE.