ISSN: 1906-117X

วารสาร

การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในวิถีความปกติใหม่

Managing Digital Technology Learning Environment to Promote the New Normal Learning Management
ขอบเขต: เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

รศ.ดร.ศักดิ์คเรศ ประกอบผล

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนรู้ในวิถีความปกติใหม่มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้มากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในวิถีความปกติใหม่อย่างเหมาะสม โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อน เริ่มจาก 1) ขั้นตอน Plan (P) การวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวก บริการการศึกษา และเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ 2) ขั้นตอน Do (D) การจัดสภาพแวดล้อมกิจกรรมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยเลือกรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบนั้น 3) ขั้นตอน Check (C) การตรวจสอบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นการควบคุม กำกับ ติดตาม การดำเนินงาน ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ในช่วง ก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ และหลังดำเนินการ 4) ขั้นตอน Act (A) การปรับปรุงสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นการนำผลการตรวจสอบมาปรับปรุงแก้ไขและนำข้อมูลที่ได้ย้อนกลับมาวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลในขั้นตอน Plan (P) ให้พัฒนาต่อไป

Abstract

Learning management in a new normal way has used more Digital technology. Therefore, it is necessary to manage the digital technology learning environment to support the learning management in a new normal way appropriately by using PDCA as the driven framework. 1) Plan Stage (P) Managing the digital technology learning environment- to prepare facilities, administrate education and technology to support learning. 2) Do Stage (D) Managing digital technology learning environments- by choosing learning activities and conducting learning activities according to the learning model. 3) Check Stage (C) Examination the digital technology learning environment- which is to control, supervise, and monitor the operations. This can be examined in pre-operation, operation, and post-operation processes. 4) Act stage (A) Improvement the digital technology learning environment- by using the inspection results to make improvement, and reuse the information to conduct a better plan (P) in managing the digital technology learning environment in the future.

คำสำคัญ

การบริหารจัดการ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เทคโนโลยีดิจิทัล การจัดการเรียนรู้ วิถีความปกติใหม่

Keywords

Management, Learning Environment, Digital Technology, Learning Management, New Normal

เอกสารอ้างอิง

กองหลักนิติบัญญัติ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). หลักเกณฑ์การใช้ระบบคณะกรรมการใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. วารสารจุลนิติ. 14(6), 29-45.
กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์.
จีระพงษ์ โพพันธุ์. (2562). ความหมายของเทคโนโลยี. สืบค้นจาก
https://kru-it.com/design-and-technology-m1/definition-of-technology/
ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2561). การออกแบบการเรียนแนวดิจิทัล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนกานต์ สมานมิตร. (2562). การฝึกอบรม. สืบค้นจาก https://blog.nsru.ac.th/60111806020/7038
ธนะวัฒน์ วรรณประภา และอมรรักษ์ ทศพิมพ์. (2562). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ออนไลน์กับการศึกษา
ในศตวรรษที่ 21. e-Journal of Education Studies, Burapha University. 1(1), 1-10.
สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ejes/article/view/209407
บริษัท ปังปอน จำกัด. (2564). Pdca Action Plan cycle คือ อะไร ตัวอย่าง บริษัท กระบวนการ. สืบค้นจาก
https://www.pangpond.com/pdca
บริษัท เอ็มทีเจ เทค จำกัด. (2561). VIRTUAL STUDIO. สืบค้นจาก https://mtjtech.co.th/virtual-studio/
ประเสริฐ บัวจันอัฐ. (2559). การศึกษาสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาวิทยาลัยกฎหมายและ
การปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมาย
และการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.
พรพรรณ จันทร์แดง. (2557). ห้องสมุดยุคใหม่. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ภัทรพร บุญนำอุดม. (2563). ห้องเรียนในฝันของการศึกษาศตวรรษที่21: บทบาทสำคัญของห้องเรียน
ในการส่งเสริมการเรียนรู้ในโลกสมัยใหม่. สืบค้นจาก https://www.educathai.com/knowledge/articles/123
เมธี พิกุลทอง. (2556). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา.
วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 1(1), 36-42.
ยง ภู่วรวรรณ และยืน ภู่วรวรรณ. (2564). ชีวิตวิถีใหม่และความฉลาดทางดิจิทัล. สืบค้นจาก
https://learningdq-dc.ku.ac.th/
วนิดา ปณุปิตตา. (2561). การพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนบงใต้โนนรังพัฒนา สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.
วีซานา อับดุลเลาะ และวุฒิชัย เนียมเทศ. (2563). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21“แนวคิด ทฤษฎี และแนวทางปฏิบัติ”. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขา
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(2), 227-246.
ศักดิ์คเรศ ประกอบผล. (2563). การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้
แอดดี้โมเดลและแนวคิดของกาเย่. ครุศาสตร์สาร. 14(1), 17-30.
________. (2564). การเข้าใจดิจิทัลกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตสู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์.
ครุศาสตร์สาร. 15(1), 1-12.
สมศักดิ์ เอี่ยมคงศรี. (2561). การจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่21. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน. (2564). สพฐ. ประชุมทางไกลชี้แจงแนวทางปฏิบัติภายใต้
สถานการณ์โควิด-19 สำหรับโรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา. สืบค้นจาก
https://www.obec.go.th/archives/363188
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2563). การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล.
สืบค้นจาก http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/life-long-learning/3678/

สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์. (2560). ทิศทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. Veridian E –Journal,
Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 10(2), 2843-2854.
สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/109763
อนุชา โสมาบุตร. (2556). ระบบสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://is.gd/tvAzq5
อรพันธุ์ ประสิทธิรัตน์. (2533). รายงานการวิจัย: การศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Battelle for Kids. (2019). Framework for 21st Century Learning. Retrieved from
http://static.battelleforkids.org/documents/p21/P21_Framework_Brief.pdf.
Getup School. (2563). รวมแหล่งเครื่องมือในการสอนออนไลน์สำหรับครู. สืบค้นจาก https://link.bsru.ac.th/4a9
Kennedy,M., (2011). The 21st-Century Learning Environment. Retrieved from
https://bit.ly/2Amgcr3
THAIALL.COM. (2564). คลิปช่วยสอนออนไลน์/วิดีโอช่วยสอน. สืบค้นจาก
http://www.thaiall.com/vdoteach/
Wilbert, K., (2016). Transforming to 21st Century Learning Environments: Best Practices Revealed
through a Study of Exemplar Schools. Ph.D.Dissertation, University of Brandman.