ISSN: 1906-117X

วารสาร

การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน Blended Learning สำหรับการเตรียมสอบ EPS-TOPIK

The Development of a Blended Learning Course for the EPS-TOPIK Preparation
ขอบเขต: ภาษาและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

ธเนศ สายจิตบริสุทธิ์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน Blended Learning สำหรับการเตรียมสอบ EPS-TOPIK มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความต้องการของแรงงานชาวไทยและนำไปจัดทำโครงสร้างหลักสูตรเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน Blended Learning สำหรับแรงงานชาวไทยเพื่อเตรียมสอบวัดระดับภาษาเกาหลี (EPS-TOPIK) เพื่อต้องการแก้ไขปัญหาด้านเวลาและสื่อการเรียนการสอนที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ภาษาเกาหลี ผลสำรวจปรากฏว่าจำนวนสัดส่วนจำนวนชั่วโมงเรียนที่เหมาะสมที่สุดคือ การเรียนการสอนในห้องเรียนต่อการศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ E-Learning อยู่ที่อัตราส่วน 60 : 20 ชั่วโมง และเน้นการจัดสรรเวลาให้กระชับและต่อเนื่องมากที่สุด คือจัดการเรียนการสอน 5 วันต่อสัปดาห์ รวม 10 ครั้ง โดยแบ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน 6 ชั่วโมง กับการศึกษาด้วยตนเองผ่านระบบ E-Learning 2 ชั่วโมง ซึ่งการศึกษาด้วยตนเองจะดำเนินการด้วยระบบ Moodle ด้วยไฟล์วีดีโอบันทึกการสอน การแนบไฟล์หรือลิงค์เอกสารประกอบการสอนต่าง ๆ การทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบออนไลน์หลากหลายรูปแบบ และการสร้างห้องสนทนาเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสซักถามปัญหาหรือข้อสงสัยอันเกิดจากการศึกษาด้วยตนเอง เป็นต้น

Abstract

The development of a blended learning course for the EPS-TOPIK preparation research project was aimed to survey needs of Thai workers and make a curriculum to develop Blended Learning media for Thai workers who preparing the Employment Permit System-Test of Proficiency in Korean (EPS-TOPIK). To solve the problems of the lack of time and learning media that obstruct the Korean language learning. The survey showed that the appropriate proportion of tutorial hours, teaching in the classroom and self-study via E-Learning is at 60: 20 hours by managing the tutorial time tightly and continuously. That is teaching 5 days a week (10 times), divided into teaching in the classroom 6 hours and self-study via E-Learning 2 hours. The self-study will be proceeded in Moodle by the tutorial video, attachment files or links of teaching and learning documents, several types of exercise and quiz, and chat room that created for giving the learners an opportunity to ask questions and doubts due to the self-study, etc.

คำสำคัญ

แรงงานชาวไทย , ภาษาเกาหลี, ข้อสอบวัดระดับภาษาเกาหลี (EPS-TOPIK), การเรียนแบบผสมผสาน, การเรียนการสอนออนไลน์

Keywords

Thai Workers, Korean Language, EPS-TOPIK, Blended Learning and E-Learning

เอกสารอ้างอิง

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2541). Designing e-Learning หลักการออกแบบและสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. เชียงใหม่: ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์.
นิคม จันทรวิทุร. (2544). แรงงานไทย : 35 ปี บนเส้นทางการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2554). การพัฒนาหลักสูตร Curriculum Development. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักประสานงานความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงแรงงาน. (2550). สถานการณ์แรงงานและความต้องการแรงงานไทยในต่างประเทศ 2548 – 2549. กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงาน
อาณัติ รัจนถิรกุล. (2553). สร้างระบบ e-Learning ด้วย moodle ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
Graves, K. (2000). Designing Language Courses: A Guide for Teachers. Boston: Heinle & Heinle Publishers.
H. Douglas Brown, 권오량, 김영숙 공역. (2010). 원리에 의한 교수 - 언어 교육에의 상호작용적 접근법. 서울: (주)피어슨에듀케이션코리아.
Kim Dong-Hyun. (2557). EPS: Employment Permit System The best way to get a Job in Korea. The Bridges 2, 20 (August): 122 – 128.
김정숙. (1997). 외국어로서의 한국어 교육 원리 및 방법. 한국어학, 6: 117 – 133.
---------- (2003). 통합 교육을 위한 한국어 교수요목 설계 방안 연구. Journal of Korean Language Education, 14-3: 119 – 143.
김정은. (2006). 이주노동자의 한국어교육 현황과 교육자료 분석. 이중언어학 30: 77 - 112.
박병권. (2012). 외국인 고용허가제의 문제점과 해결방안연구. 고려대학교 석사학위논문.
빈도경. (2010). 학습자 요구 분석을 통한 캄보디아 노동자 대상 한국어 교육 방안 연구. 부산외국어대학교 석사학위논문.
신수진. (2009). Blended Learning 적용에 따른 효과성 연구. 고려대학교 석사학위논문.
오인미. (2012). 외국인 근로자를 위한 한국어 교재 개발 방안. 천원대학교 석사학위논문.
이경민. (2007). 베트남 이주노동자를 위한 취업 전 한국어 교재 개발 연구. 부산외국어대학교 교육대학원 석사학위논문.
조항록. (2010). “이주노동자 한국어 교육, 총체적 접근 요구돼”. 한국어 교육 정책론. 서울: 한국문화사.
한국산업인력공단. (2012). 고용허가제 한국어능력시험을 위한 한국어표준교재. 한국어산업인력공단 홈페이지.
한미숙. (2006). 대학에서Blended Learning에 대한 학습참여도, 학업성취도, 학습만족도간의 상관성 연구. 단국대학교 석사학위논문.