ISSN: 1906-117X

วารสาร

การศึกษาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน รายวิชาพื้นฐานศิลปศึกษา สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

A study of effectiveness teaching in Foundation of Art Course at Department of Art Education Faculty of Education, Ban Somdet Chaopraya Rajabhat University
ขอบเขต: ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการศึกษา

เนธิมา สุวรรณวงศ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐานศิลปศึกษา สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม และสื่อการเรียนการสอน การวัดผลประเมินตามสภาพจริง การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และเพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้สอน ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตสาขาวิชาศิลปศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนโดยรวมและรายด้านอยู่ได้ระดับมาก สำหรับข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนควรพัฒนาด้านการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม และสื่อการเรียนการสอน เพราะด้านนี้มีประสิทธิภาพต่ำกว่าด้านอื่นๆ

Abstract

This study aimed to examine the level of learning and teaching management efficiency in Art Education’s fundamental subjects of Art Education Field, Faculty of Education, Bansomdejchaopraya Rajabhat University in term of student-centered learning and teaching management, environmental management, and instructional media. Moreover, another objective is to study the problems and recommendations on learning and teaching management for teachers. This study used questionnaire consisted of Likert scale and statistics, and the samples of this study were 60 first year students of Art Education field using the questionnaire consisted of Likert scale, and statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results based on participants’ overall and individual assessments found that the teachers were practicable in very high level in all aspects. For the recommendations on learning and teaching management, teachers should develop the environmental management and instructional media because the teachers were less effective than the other aspects as in the questionnaire.

คำสำคัญ

การศึกษาประสิทธิภาพ, การจัดการเรียนการสอน, รายวิชาพื้นฐานศิลปศึกษา

Keywords

Study, Effectiveness teaching, Foundation of Art Course

เอกสารอ้างอิง

กมลรัตน์ หถ้าสุวงษ์. (2528). จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศรีเดชา.
กรมวิชาการ. (2544). การจัดกระบวนการเรียนที่ผู้เรียนสำคัญที่สุดตามพระราชบัญญัติ
การศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการ.
_________. (2544). แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กรมสามัญศึกษา. (2544). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. เอกสารชุด แนวทางปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ: การศาสนา.
กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา. (2536). บทบาทของกรมวิชาการคับการพัฒนาคุฌภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กาญจนา ไชยพันธุ. (2545). ตัวบ่งชี้ของผู้สอนกับผู้เรียนเป็นสำคัญ. วารสารวิชาการ, 5(8), หน้า 58-60.
กิติยวดี บุญซื่อ และคณะ. (2540). ทฤษฎีการเรียนอย่างมีความสุข. กรุงเทพฯ: สำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
โกวิท ประวาลพฤกษ์. (2543). การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. การศึกษา
กรุงเทพฯ, 23(10), หน้า 4.
คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรียนรู้. (2543). ปฏิรูปการเรียนผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
คำหมาน คนไค. (2543). ทางก้าวหน้าของผู้สอนมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: วิญญชน.
ชวาล แพรัตกุล. (2526). เทคนิคการจัดผล. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
วนิดา สิทธิรณฤทธ. (2542). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช : พระประทีปแห่ง การศึกษาไทย. ทับแก้ว, 3(5), หน้า 8.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คอมพิวเตอร์กราฟฟิต.
วาสนา รบกล้า. (2541). ความต้องการความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานตามแนวทาง การปฏิรูปการศึกษาข้าราชการผู้สอน สังกัดกรมสามัญศึกษา ในจังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2521). ความต้องการพื้นฐานที่จะช่วยส่งเสริมการสอนของผู้สอนให้มีประสิทธิภาพ. ประชาศึกษา, 29(10), หน้า 2-5.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2540). การคิดและการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการ คิด : ต้นแบบการเรียนรู้ทางต้านหลักทฤษฎี'และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โครงการ พัฒนาการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
___________. (2540). ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม : ต้นแบบการเรียนรู้ทางด้านหลักทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ.