ISSN: 1906-117X

วารสาร

การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 2P4E สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง

The Emprovement of Science Process Skills by 2P4E Learning Model for the 2nd Pratomsuksa Students in Anubarnwatnangnong School
ขอบเขต: หลักสูตรการสอน

ภิญญาพัชญ์ ปลากัดทอง

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

พลอบไพลิน มั่งมี

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 2P4E กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/4 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้และแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และใข้ค่าเฉลี่ย (x ̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 2P4E มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมาก ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน

Abstract

This research aimed to improve science process skills of the students by 2E4P learning model. The sample was 35 students, Pratomsuksa 2nd room 4, of semester 2020 academic year at Anubarnwatnangnong Schoo; sampled by simple sampling. Instruments were lesson plans and the evaluation for science process skills. Data analysis was done by Mean and Standard Deviation. The results of the research were as follow: The students that were studied by 2E4P learning model had science process skills at high level.

คำสำคัญ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ / รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ 2P4E

Keywords

science process skills , 2P4E Learning Model

เอกสารอ้างอิง

เกื้อกูล สายธิไชย. (2558). การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบท
เป็นฐานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชยานันต์ จันดี. (2557). การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดหนองแขม
(สหราษฎร์บูรณะ) ที่จัดการเรียนการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5E. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชยาภรณ์ เค้านา. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดล ซิปปาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติ
ต่อการเรียนวิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครสวรรค์.
ชัชวาล บัวริคาน. (2559). การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนแบบซิปปา เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 10 (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ:
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
ภารดี กล่อมดี. (2561). ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
5 โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E). นครปฐม: มหาวิทยาลัย
ศิลปากร.
รวีวรรณ แปงน้อย. (2555). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 อี. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
โรงเรียนอนุบาลวัดนางนอง. (2563). หลักสูตรสถานศึกษาประจำปีการศึกษา 2563. กรุงเทพฯ: โรงเรียนอนุบาล
วัดนางนอง.
วรรณภา พุทธสอน. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับการใช้เกม
เรื่อง แม่เหล็กและไฟฟ้า เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศิริพร เมืองดี. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้รูปแบบ CIPPA Model โยการใช้คำถาม เพื่อพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย .
สรญา มนตรีโพธิ์. (2556). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการะบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พื้นฐาน และการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา. มหาสารคาม:
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุณิษา สุกราภา. (2560). ผลการใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครสวรรค์.
อมรรัตน์ แก่นสาร และวุฒิชัย ภูดี. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้ 5 ขั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านสร้าง
หิน อำเภอเมือง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. นครพนม: โรงเรียนบ้าน
สร้างหิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1.