ISSN: 1906-117X

วารสาร

การศึกษาปรากฏการณ์ด้านค่านิยมองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาผ่านมุมมองด้านมิติทางวัฒนธรรม

A Phenomenological Study on Organizational Values of the Staffs at Bansomdejchaopraya Rajabhat University through the Lens of Cultural Dimensions
ขอบเขต: ภาษาและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

เฉลิมทรัพย์ กรัณย์จักรวุฒิ

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติด้านค่านิยมองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาผ่านมุมมองด้านมิติทางวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยมีจำนวนทั้งสิ้น 6 คนได้มาจากการผู้บริหาร 2 คน อาจารย์ 2 คน และนักวิชาการ/เจ้าหน้าที่ 2 คนโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติด้านค่านิยมองค์กรผ่านมิติทางวัฒนธรรมพบได้ในหลายรูปแบบคือ ด้านความรักในองค์กรควรให้ความสำคัญของความเป็นสตรี ด้านการทำงานเป็นทีมผ่านคติรวมหมู่ ด้านคุณธรรมผ่านการกำหนดแผนระยะเวลาในอนาคตแบบระยะยาว ด้านความเอื้ออาทรแบ่งปันผ่านความเป็นสตรี ค่านิยมองค์กรเกิดใหม่คือ สิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ

Abstract

The objective of this research was to explore the attitudes of the organizational values of the staff at Bansomdejchaopraya Rajabhat University through the lens of cultural dimensions. The data were collected from the 6 participants, including two administrators, two lecturers and two staff with purposive sampling selection. The semi-structured interview was deployed to collect the data. The findings revealed that there were various patterns of the attitude of organizational values through cultural dimensions, i.e. adoration through femininity, teamwork through collectivism, moral through long-term orientation, loveliness through femininity, and the emerging organizational value is Spiritual Support.

คำสำคัญ

การศึกษาปรากฏการณ์ , ทัศนคติด้านค่านิยมองค์กร , มิติทางวัฒนธรรม , วัฒนธรรมองค์กรของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Keywords

Phenomenological study, Attitudes of organizational values, Cultural dimensions, Organizational culture of Bansomdejchaopraya Rajabhat University

เอกสารอ้างอิง

กองบริหารงานบุคคล. (2561). สถิติบุคลากรทุกประเภท มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ณ วันที่ 5 มกราคม 2561. เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2561 จาก http://person.bsru. ac.th/4sathiti.php
ค่านิยมร่วม...สู่ความเป็นเลิศ. (2557). เข้าถึงเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2561 จาก https://csc.kmitl.ac.th/cscweb-1/wp-content/uploads/2014/08/org-culture.pdf
ช.ปวินท์ เพ็ชญไพศิษฏ์. (2557). การสื่อสาร วัฒนธรรมองค์กร และความไว้วางใจกัน ที่มีอิทธิพลต่อการทำงานเป็นทีมของพนักงานรัฐวิสาหกิจด้านพลังงานไฟฟ้าแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ณัฐธิดา เกือเจ. (2557). การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม. Retrieved from https://destinymetoo. wordpress.com/culture/
ธนกฤต สังข์เฉย. (2555). ความแตกต่างทางมิติวัฒนธรรมกับพฤติกรรมนักท่องเที่ยว. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31(5), 61-72.
บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2558). เทคนิคการแผลผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในการวิจัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 8(2), 24-40.
แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พุทธศักราช 2558-2562 (ฉบับปรับปรุง). (2559). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
พนิดา จงสุขสมสกุล. (2559). การสื่อสารระหว่างประเทศและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 35(พิเศษ).
พัชราภา เอื้ออมรวนิช. (2560) การสื่อสารภายใต้มิติความหลากหลายทางวัฒนธรรมตามแนวคิด Geert Hofstede. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 25(47), 1-18.
มณีวรรณ ฉัตรอุทัย. (2559). การศึกษาเปรียบเทียบและสำรวจมิติทางวัฒนธรรมในบริบทประเทศไทยและกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิก. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, 60-81.
เมตตา วิวัฒนานุกูล (กฤตวิทย์). (2559). การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เมทินี คงเจริญ และอัญชนา พานิช. (2561). วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของพนักงานครูในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคิรีขันธ์. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(3), 2443-2457.
ลินดา เกณฑ์มา. (2559). ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เรื่อง เจตจำนงสุจริตในการบริหารงานด้วยคุณธรรมและความโปร่งใสของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. Retrieved from http://www.bsru.ac.th/news/archives/2164
เอกสิทธิ์ เข้มงวด. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบมิติทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น กรณีศึกษาบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย. รายงานการวิจัย. คณะบริหารธุรกิจ. สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. ประเทศไทย. Retrieved from http://ba.tni.ac.th/new/upload/files/ Research_Ekkasit1.pdf
Berdie, D. R., Anderson, J. F., & Niebuhr, M. A. (1986). Questionnaires: Design and Use. Metuchen, N.J.: Scarecrow Press.
Best, J. W. (1981). Research in Education. New Jersey: Prentice-Hall.
Cresswell, J. (1998). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing among Five Traditions. Thousand Oaks, CA: Sage Publication.
Hofstede, G & Hofstede, G. (2005). Cultures and Organizations: Software of the mind. Revised and Expanded. (2nd edition). USA.: McGraw-Hill.
Hofstede, G. (1984). Culture’s consequences: international differences in work-related Values. (Abridged ed.). Beverly Hills, CA: Sage Publications.
Hofstede, G. (2013). Cultural Values 2013. Retrieved from geerthofstede.com/wp-content/.../VSM-2013-Thai-2015-05-31.doc
Hofstede, G. (2017). Cultural Dimentions: Thailand. Retrieved from https://geert-hofstede. com/thailand.html
Ting-Toomey, S., & Chung, L. (2012). Understanding Intercultural Communication. (2nd ed.). New York: Oxford University Press.