ISSN: 1906-117X

วารสาร

เมตาคอกนิชันกับการสอนอ่านเชิงวิเคราะห์

Metacognitive strategy instruction for analytical reading
ขอบเขต: หลักสูตรการสอน

สาวิตรี จิตบรรจง

สาขาวิชาภาษาไทย (ค.บ.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

เมตาคอกนิชันมีแนวคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้พุทธินิยม (Cognitive Theory) ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อผู้สอนและผู้เรียนสำหรับการเรียนรู้ในปัจจุบันเป็นกระบวนการที่ผู้เรียนใช้การกำกับตนเอง (Self – Regulation) ดังนั้นหากผู้เรียนมีความสามารถทางเมตาคอกนิชันสูง จะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถควบคุม ตรวจสอบการคิดของตนเองไปในทางที่ถูกต้อง และนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเมตาคอกนิชันมาใช้ในการสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ สามารถแก้ปัญหาการอ่านและช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านของผู้เรียนได้ เนื่องจากผู้เรียนจะเกิดการตระหนักรู้ในตนเอง (Awareness) ตั้งแต่การวางแผนการอ่าน การเลือกวิธีการที่เหมาะสมสำหรับตนเอง การตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน และประเมินผลการอ่านของตนเอง รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนวิธีการอื่นๆ ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้สอนจึงควรให้ความสำคัญและฝึกให้ผู้เรียนได้พัฒนาเมตาคอกนิชันของตนเองอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยต้องคำนึงถึงพื้นความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ผู้สอนต้องคำนึงถึงเป็นประการแรกสำหรับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ถ้าผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาเมตาคอกนิชันอย่างต่อเนื่อง จะสามารถพัฒนาความสามารถในการคิดของผู้เรียนให้เป็นผู้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น รู้วิธีการเรียนรู้ และรู้จักการควบคุมการรู้คิดของตนเอง ซึ่งถือเป็นเป้าหมายในการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมในปัจจุบัน

Abstract

Metacognition that comes from “Cognitive theory”. Nowadays, this concept plays an important role for both the instructors and learners because there are the processes that the students use for self-regulation. So the learners who have the ability to use Metacognition for learning, they are able to control and monitor their thoughts. It also helps them to solve the problems efficiently. Using Metacognition for teaching analytical reading, it helps the learners to solve the problem about the reading and also improves students’ reading ability due to the learners’ self - awareness, planning before reading, choosing an appropriate strategy, monitoring their understanding of reading and evaluating about the results of reading by themselves. So the instructors should encourage the development of Metacognition in the classroom by giving learners the opportunity to use metacognitive strategy gradually. In addition, the first important factor for instructional design is to consider the learners’ prior knowledge and their experience. Lastly, the instructors should encourage the learners to develop Metacognition continuously, the learners are able to be aware of what they are thinking about, choose a helpful thought process, solve the problem and control of their thoughts. This is the aim of learning that relates with the social context at present.

คำสำคัญ

เมตาคอกนิชัน การกำกับตนเอง การตระหนักรู้ กลวิธีการสอนอ่านแบบเมตาคอกนิชัน การอ่านเชิงวิเคราะห์

Keywords

Metacognition, self-regulation, self-awareness, Metacognitive strategy for reading, analytical reading

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กุสุมา รักษมณี. (2547). วรรณสารวิจัย. กรุงเทพฯ: แม่คำผาง.
ชลธิชา หอมฟุ้ง. (2557). การพัฒนารูปแบบการสอนวรรณคดีไทยโดยประยุกต์ใช้อริยสัจสี่เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
ทิศนา แขมมณี. (2540). ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ไอเดียสแควร์.
ทิศนา แขมมณี, ศรินธร วิทยะสิรินันท์, พิมพันธ์ เดชะคุปต์, นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, ศิริชัย กาญจนวาสี และ
ปัทมศิริ ธีรานุรักษ์. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นจำกัด.
พัชรินทร์ รอดสิน. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของครูภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ ด้วยกลวิธีเมตาคอกนิชันร่วมกับการโค้ช. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
พาสนา จุลรัตน์. (2556). เมตาคอกนิชันกับการเรียนรู้. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. 14(1), 5-6.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2544). เมตาคอกนิชัน : วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ป
แมเนจเม้นท์ จำกัด.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัทตถาตาพับลิเคชั่น.
--------.(2556). ครูเพื่อศิษย์ สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพฯ: เอสอาร์พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จำกัด.
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์. (2547). หลักและวิธีการสอนอ่านภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (2550). ทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน. นนทบุรี: ซี.ซี. นอลลิดจ์ลิงคส์.
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2562). มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร สี่ปี) พ.ศ.2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
อัจจิมา เกิดผล. (2546). การสอนวรรณคดีไทยด้วยกระบวนกลุ่มสัมพันธ์. ใน สอางค์ ดำเนินสวัสดิ์ (น.127).
จะสอนภาษาไทยให้สนุกได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Baker, L. (1999). “The synergistic effect of market orientation and learning orientation on organizational performance.” Academy of Marketing Science Journal, 2 7 (4) , 411-427.
Baker, L., & Brown, A.L. (1984). Metacognitive skills and reading. In P.d.Pearson, R. Barr, M.L.Kamil,
& P.Mosenthal (Eds.), Handbook of Reading Research (pp.353 – 394). New York: Longman.
Beyer, B.K. (1987). Practical Strategies for the Teaching of Thinking. Boston : Allyn and Bacon.
Brown. (1994). The Role of Policy Implementation and Its Effect on Policy Outcomes. Retrieved from www.aare.edu.au/94pap/browi94272.text.
Brown, A. (1987). Metacognition, executive control, self-regulation, and other more mysterious mechanisms. In F. E. Weinert. ; & R. H. Kluwe (Eds.). Metacognition, motivation and understanding. Hillsdale, N. J. : Lawrence Erlbuam.
Bruner, & others. (1956). The Process of Education. Massachusetts: Hayward University Press Cambridge.
Costa, A.L. (1984, November). Mediating the Metacognition. Educational Leadership. 42(3): 57-62.
Cross, D.R and Paris, S.G. (1988). Development and Instructional Analyses of Children’s
Metacognition and Reading Comprehension. Journal of Educational Psychology,
(September / October 1988 ) ,131-142.
Dickinson, L. (1987). Self instruction in Language Learning. Cambridge : Cambridge University Press.
Flavell, J.H. (1979). Metacognition and Cognitive Monitoring: A New Area of Cognitive
Development Inquiry. American Psychology.
--------. (1985). Cognitive Development. 2 nd ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentices Hall.
Flood, J., & Lapp, D. (1990). Reading comprehension instruction for at-risk students: Research-
based practices that can make a difference. Journal of Reading.28, 490 – 496.
Jacobowitz, T. (1990). AIM : A metacognitive strategy for construction the main idea of text. Journal
of Reading, 13(5), 620 – 623.
Rubin, G. (1993). Thinking Sex: Notes for a Radical Theory of the Politics of Sexuality. New York:
Routledge.
Wilhelm, J.D. (2001). Improving comprehension with think-aloud strategies : Modeling what good
readers do. New York: Scholastic professional.
Woolfolk, A.E. (1990). Educational psychology (4 th ed.). Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice
– Hall.