ISSN: 1906-117X

วารสาร

การพัฒนาเครื่องมือการวิเคราะห์ศิลปะการแสดง

Development of Performing Arts Analysis Tools
ขอบเขต: ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการศึกษา

คณรัตน์ บัวทอง

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือการวิเคราะห์ศิลปะการแสดงสำหรับใช้ในการสอนรายวิชาหลักการวิเคราะห์ศิลปะการแสดงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจของนักศึกษาที่ได้ใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ศิลปะการแสดง โดยทำการศึกษาจากนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการวิเคราะห์ศิลปะการแสดง ของวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 34 คน ผลการศึกษาพบว่า การใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์ศิลปะการแสดงมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.24/81.18 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 เมื่อทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ การวิเคราะห์ศิลปะการแสดง พบว่า หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และการประเมินความพึงพอใจในการใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์ศิลปะการแสดงในภาพรวมผู้เรียน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.21 แสดงว่า การเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์ศิลปะการแสดงมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถสร้างความพึงพอใจในการเรียนได้เป็นอย่างดียิ่ง สามารถนำไปใช้เพื่อจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้การวิเคราะห์ศิลปะการแสดงมากขึ้น

Abstract

Abstract This research is an experimental research. aims to develop tools Study the results of using the tool. and satisfaction in using the performing arts analysis tool in the Performing Arts Analysis course of 3rd year undergraduate students enrolled in the Performing Arts Analysis course. of Nakhon Si Thammarat University of Dramatic Arts in the second semester of the academic year 2020, totaling 34 students. The result of using the Performance Arts Analysis Skill Exercise revealed the efficiency at 82.24/81.18, meeting the criteria of 80/80. When performing a comparative analysis of learning achievement with the Performing Arts Analysis Skills Exercise, it was found that after learning, the mean scores were higher than before, with a statistically significant difference at the .01 level. The students' overall satisfaction with the Performing Arts Skills Analysis form was at the highest level, with a mean of 4.21 indicating that the learning by using the Performing Arts Analysis Skills Practice Form was effective and effective. can create satisfaction in studying as well It can be used to motivate students to be more interested in learning to analyze performing arts.

คำสำคัญ

คำสำคัญ : ศิลปะการแสดง, แบบฝึกทักษะ, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Keywords

Keywords: performing arts, skill exercises, academic achievement

เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. กรุงเทพ ฯ : สุวีริยาสาล์น.
เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช, ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์, วิฒิชัย เนียมเทศ, และณัฐวิทย์ พจนตันติ. (2559). ทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 : ความท้าทายในการพัฒนานักศึกษา. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุข
ภาคใต้, 3(2), 208-222.
พงศณัฐวัฒน์ เจริญสิงห์ และแสงสุรีย์ ดวงคำน้อย. (2564). การพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่ารำพื้นฐานนาฏศิลป์ไทย
ด้านนาฏยศัพท์และภาษาท่า โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบทางตรง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3. Journal of Modern Learning Development, 6(3), 70-80.
เรณู โกศิลานนท์. (2545). สืบสานนาฏศิลป์ไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช. (2563). ประวัติวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช. สืบค้นจาก http://cdans.bpi.ac.th/page/about.html
วันจักรี โชติรัตน์, มนตรี เด่นดวง, และปรีชา เบ็ญคาร. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง การออกแบบท่ารำ-เต้น ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรูปแบบซิปปา ร่วมกับสื่อวีดิทัศน์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10, 1119-1133.
ศุภชัย สมพงษ์ และประภาศ ปานเจี้ยง. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของธอร์นไดค์ที่มีต่อโสตทัศนในรายวิชาดนตรีสากล สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 12, 992-1002.
สมนึก ภัททิยธนี. (2555). การวัดผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.
Petty, T. W. (1963). Developing Language Skill in Elementary Schools (4th ed). Boston: Allyn and Bacon.
Thorndike, Edward Lee. (1975). Connectionism Theory. London: University of London.