ISSN: 1906-117X

วารสาร

ปรับกระบวนทัศน์ : การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อสร้างเสริมทักษะสำคัญของผู้เรียนยุคประเทศไทย 4.0

PARADIGM SHIFT: TEACHING BY PROJECT-BASED LEARNING (PBL) TO ENHANCE THE ESSENTIAL SKILLS OF STUDENTS IN THAILAND 4.0 ERA
ขอบเขต: หลักสูตรการสอน

ปรณัฐ กิจรุ่งเรื่อง

มหาวิทยาลัยศิลปากร

อรพิณ ศิริสัมพันธ์

มหาวิทยาลัยศิลปากร

ดวงหทัย โฮมไชยะวงศ์

มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิลาพัณย์ อุรบุญนวลชาติ

มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทคัดย่อ

การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) เป็นวิธีการสำคัญที่นักการศึกษาทั่วโลกให้การยอมรับว่าสามารถสร้างเสริมทักษะสำคัญของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 ได้ ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนยุคประเทศไทย 4.0 ที่เน้นพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพทั้งทางด้านความรู้ ทักษะและความสามารถสูง มีความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกที่ดี ทั้งนี้เนื่องจากผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างแท้จริงจากกระบวนการเรียนรู้ (Learning process) ได้แก่ การมีประสบการณ์ การปฏิบัติจริงอย่างเป็นลำดับขั้นตอน จนกระทั่งเกิดผลการเรียนรู้ (Learning outcome) ทั้งทางด้านความรู้ความเข้าใจในสาระต่าง ๆ ความสามารถในการกระทำ การใช้ทักษะกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้งความรู้สึกหรือเจตคติอันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนรู้ที่ผสมผสานบูรณาการกัน บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถนำแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานไปใช้เพื่อเสริมสร้างทักษะสำคัญของผู้เรียนในยุคประเทศไทย 4.0 ซึ่งเนื้อหาในบทความประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับทักษะสำคัญของผู้เรียนยุคประเทศไทย 4.0 การปรับกระบวนทัศน์การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานในเรื่องของความหมาย ปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน คุณค่า ประเภท การออกแบบการจัดการเรียนรู้ แนวทางการประเมินอย่างง่ายสำหรับครู บทบาทของครูที่ปรึกษาโครงงาน และผลงานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน

Abstract

Project-based learning is an important method recognized by educators across the world as something that can enhance the essential skills of students in the 21st century. It is in line with the development of students in the Thailand 4.0 era, which focuses on the development of Thai citizens to ensure their high quality in terms of knowledge, skills, abilities, sense of social responsibility, as well as citizenship for Thailand and the world. This is because of true learning from the learning process, which is characterized by experience, step-by-step actions and achievement of learning outcomes in terms of knowledge and understanding of different matters, the ability to act, and the use of skills and processes, as well as feelings or attitudes as a result of an integrated learning process. This article aims to provide the readers with correct relevant knowledge and understanding and the ability to apply project-based learning to enhance essential skills of students in the Thailand 4.0 era. The contents of this article consist of knowledge about essential skills for students in the Thailand 4.0 era, paradigm shifts, and project-based learning in terms of the meaning, philosophy, and theories of learning which are the basis of project-based learning; the value, types and design of learning; simple evaluation guidelines for teachers; the roles of project advisors; and results of research on project-based learning.

คำสำคัญ

การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน, ทักษะสำคัญของผู้เรียนยุคประเทศไทย 4.0, คุณภาพผู้เรียน

Keywords

Project-based Learning, , Essential Skills of Students in the Thailand 4.0 Era, , Student Quality

เอกสารอ้างอิง

กลั่นแก้ว ประชุมแดง. (2544). การพัฒนาทักษะการเรียนรู้เรื่องป่าดีน้ำอุดม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยโครงงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จิราภรณ์ ศิริทวี. (2542). โครงงานการสร้างทางเลือกใหม่ของการสร้างปัญญาชน วารสารวิชาการ. 2 (8), 33 – 38.
บุญศรี นุฤทธิ์มนตรี. (2547). การพัฒนาผลการเรียนรู้ภาษาไทยโดยโครงงานเรื่องทางแห่งความสำเร็จ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. การค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปฏิญญา โกศลสิริพจน์. (2549). การวิจัยและพัฒนากิจกรรมและเทคนิคการประเมินความต้องการ จำเป็นสำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน.”วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน . เอกสารประกอบการอบรมโครงการพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาสมรรถนะการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมผู้เรียนในยุค 4.0. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พเยาว์ ยินดีสุข. (2549). ทักษะการสังเกตสู่การระบุปัญหา เพื่อทำโครงงานวิทยาศาสตร์ 3 ประเภทในนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา”.พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ ลัดดา ภู่เกียรติ และสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (บรรณาธิการ) .กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน : การเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพชรา วงศ์ประไพโรจน์. (2545). การจัดกิจกรรมการเรียนแบบโครงงาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 1 (1), 1 – 7.
ลัดดา ภู่เกียรติ. (2544). โครงงานเพื่อการเรียนรู้ หลักการและแนวทางการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
____________.( 2545). การสอนโดยใช้กิจกรรมโครงงานเพื่อพัฒนาผู้เรียน.ในนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ ลัดดา ภู่เกียรติ และสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (บรรณาธิการ) .กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัชนี สีดา. (2551). การพัฒนาการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องคำราชาศัพท์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. การค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วรรณ์วิไล หงส์ทอง. (2551). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2553). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด : พิมพ์ครั้งที่ 5 นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรา เล่าเรียนดี ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง และ อรพิณ ศิริสัมพันธ์. (2560). กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดและยกระดับคุณภาพการศึกษา นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2551). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design. สารนิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สามารถ เติมประยูร. (2545). การพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีการสอนแบบโครงงาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุพิน ดิษฐสกุล. (2549). การเรียนรู้ตามแนวคอนสตัคชันนิสต์ด้วยการทำโครงงานที่เน้นการร่วมมือร่วมพลังในนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ ลัดดา ภู่เกียรติ และสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (บรรณาธิการ) .กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2552). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรีรัตน์ กองสี. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สารนิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัญฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2546). 20 วิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม การเรียนรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). เตรียมคนไทย 4.0 สู่โลกที่ 1. เอกสารประกอบการบรรยาย ฟอรั่ม ครูใหญ่ (Principal forum) ระดับประถมศึกษา. งานมหกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 9 อาคารอิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี วันที่ 14 ตุลาคม 2559
โสภาพรรณ แสงศัพท์. (2549). แผงโครงงานวิทยาศาสตร์ ในนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ ลัดดา ภู่เกียรติ และสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (บรรณาธิการ) .กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2546 ). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2553. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิก.
สำนวน คุณพล. (2551). ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานในวิชาวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดสังเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2547). เรียนรู้บูรณาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). รายงานผลการศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง. (2547). สุดยอดการพัฒนาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอเน็ท.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
เอมอร บูชาบุพพาจารย์. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์การเรียนรู้ด้วยตนเอง.ในนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ ลัดดา ภู่เกียรติ และสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Beers,S.Z. (2011). Teaching 21st Century Skills: an ASCD action tool. Alexandria: ASCD
Burlbaw Ortwein and Williams (2013). The Project Method in Historical Context. In Capraro M. R. , Capraro M.M. and Morgan R. J. (Editer) STEM Project-Based Learning An Integrated Science, Technology,Engineering, and Mathematics (STEM) Approach. (7-14) Rotterdam : Sense Publishers.
Church, R. L., & Sedlak, M. W. (1976). Education in the United States: An interpretative history. New York: Free Press.
Cremin, L. A. (1961). The transformation of the school: Progressivism in American education, 1876-1957. New York : Knopf.
Greenwood,Nicole Lauren. (2004). The Culture Fair : Reinventing Project – based Learning to meet Current Standards. Masters Abstracts International. 42 (2) : 377.
Hargrave, Odessa Starr. (2004). We Are All Learning Here : Reinventing Project – based Learning in the Classroom. Masters Abstracts International. 42 (2) : 359.
Kilpatrick, W. H. (1918). The project method. Teachers College Record. 19 : 319-335.
Krajcik J.S., (1994). A Collaborative Model for helping Middle Grade Science Teachers Learn Project – Based Instruction. Elementary School Journal . 94 : 483 – 497.
Katz, Lilian G, and Chard, Sylvia C. (1989) .Engaging Children’s mind: The Project Approach. Printing Norwood, New Jersey: Ablex Publishing.
Levin, D.S., Ben-Jacob, T.K. & Ben-Jacob, M.G. (2001). The Learning Environment of the 21st Century. AACE Journal, 1(13), 8-12. Charlottesville, VA: AACE.
Neisz, Tallia Marie. (2004). The Project Approach to Learning : How the Project Approach Provide Opportunities for Authentic Learning. Master Abstracts International. 42 (2) : 378.
Tileston D. W.. (2007). Teaching Strategies for Active Learning : Five Essential for Your Teaching. Corwin Press, U.S.A.,.