ISSN: 1906-117X

วารสาร

การพัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกีฬา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ

The Development of Leaders’ Characteristics Model for Sports School under the Thailand National Sports University
ขอบเขต: การบริหารการศึกษา

เสาวลี แจ้งใจดี

มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกีฬา ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหาร พัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหาร และประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของรูปแบบคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกีฬา ที่สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 360 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทคนิควิธีวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น (PNImodifie เทคนิคเดลฟาย และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหาร มีค่าความต้องการจำเป็น PNIModified เท่ากับ 0.33 3) รูปแบบคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหาร มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การกำหนดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ การบริหารจัดการ การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเป็นผู้นำทางวิชาการวิจัยและพัฒนา การสื่อสารและการประสานงาน การกำกับ ติดตามและประเมินผล และผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกีฬา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ มีความเหมาะสมและนำไปปฏิบัติได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Abstract

The purposes of this research were to study the present and admirable Development of Leaders characteristics model for Sports school, to study the need in Development of Leaders characteristics model, to develop Development of Leaders characteristics model, and to evaluate and confirm the Development of Leaders characteristics model for Sports school under the Thailand national sports University. The sample group included 360 Personnel. The research instruments was questionnaire and were analyzed by using Percent, mean, standard deviation, Modified PNIModified, Delphi and Chi-square. The research results found that; 1) The present development of Development of Leaders characteristics model was rated at the middle and the desirable Development of Leaders characteristics model was rated at the higer. 2) The need (PNIModified in Development of Leaders characteristics model for Sports school was at 0.33. 3) Development of Leaders characteristics model involved 6 components, i.e., vision and strategies, Management, Change leader, Academic Leader, Research and Development, Communication and coordination, and Monitoring and evaluation and 4) The Development of Leaders characteristics model for Sports school under the Thailand national sports University was evaluated and confirmed to be appropriate for further implementation at significance level .01

คำสำคัญ

การพัฒนารูปแบบ/คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหาร

Keywords

Development of Model, Leaders’ Characteristics

เอกสารอ้างอิง

ธีรพงษ์ มหาวีโร. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559). กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สำนักพิมพ์เดอะบุคส์ จำกัด.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:
แอล. ที. เพรส จำกัด.
บรรจง อมรชีวิน. (2556). การจัดการมุ่งผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560- 2564). (2559).
ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ 133). ตอนที่ 155ก (30 ธันวาคม)


ไพฑูรย์ หงส์วิไล และปทัญทิญา สิงห์คราม. (2561). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียนกีฬา
สังกัดสถาบันการพลศึกษา เขตภาคกลาง. วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 3
กันยายน - ธันวาคม
ภมร ไชยงาม และสังเวียน ปินะกาลัง. (2557).สภาพที่เป็นจริงและความคาดหวังของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ที่มีต่อโรงเรียนกีฬาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม- กันยายน 2557
วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2557). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เพียร์สัน เอ็ด ดูเคชั่น
อินโดไซน่า จำกัด.
วิมล ว่องวาณิช. (2548). การวิจัยปฏิบัติในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.
วิไลพร คัมภิรารักษ์. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการบังคับบัญชาและความผูกพันต่อองค์การและ
ผลของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การของผู้ใต้บังคับบัญชา. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2545). เชาว์อารมณ์ (EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จของชีวิต. กรุงเทพมหานคร:
เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
ศาศวัต กันเทพา และจิณณวัตร ปะโคทัง. (2559). ศึกษาสภาพการบริหารจัดการโรงเรียนกีฬาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สังกัดสถาบันการพลศึกษา. สกลนคร: วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สกลนคร ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 มกราคม - มีนาคม 2559
สมหมาย อ่ำดอนกลอย. (2551). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. พิษณุโลก: คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์. (2550). อนาคตภาพที่เป็นไปได้ของมหาวิทยาลัยมหาสารคามในทศวรรษหน้า. ขอนแก่น:
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). สภาพและปัญหาการบริหารและจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักนโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. แผนพัฒนาการศึกษาของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12.
ค้นเมื่อ พฤศจิกายน 1, 2562, จาก http://www.moe.go.th/moe/th/mew/detail.php?NewID=
46495&key=new20
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). รายงานการวิจัยและพัฒนานโยบายการพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาคุรุสภา.
สำเนา หมื่นแจ่ม. (2555). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานบนพื้นที่สูง. เชียงใหม่:
คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
เอกชัย กี่สุขพันธ์และคณะ. (2553). การบริหารการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

Cunnigham, W. G & Cordeiro, P.A. (2000). Educational Leadership: A Problem-Based Approach.
2nd ed. Boston: Pearson Education.
M.Goldsmith ; and R. Beckhard (eds.) (1996). The Leader of the Future. SanFrancisco : Jossey-
Bass.
Dubrin J. Andrew. (1998). Leadership Research Findings, Practice, and Skills. New Jersey:
Houghton Mifflin Company.
Fiedler, Fred E. (1967). A Theory of Leadership Effectiveness. New York : McGraw-Hill.
Fook, Chan Yuen and Sidhu, Gurnam Kaur. (2009). Leadership Characteristics of an Excellent
Principal in Malaysia. Malaysia: November, 2009. Available from:
fliles.eric.ed.gov/fulltext/EJ1065746.pdf.
Frigon, N.L., and Harry, K.J. (1996). The leader. New York : Amecom,
Ghorpade, Jai. (1989). Job Analysis : A Handbook for the Human Resource Director.
Prentice Hall, Englewood Cliff. New Jerssey,
Gorton, Richard D. (1983). School Administration and Supervision. Dubuque : Wm.C.Brown,
John S. Hammond, Ralph L. Keeney and Howard Raiffa. (1998). The Hidden Traps in Decision Making.
A version of this article appeared in the September–October 1998 issue of Harvard Business
Review.
Keeves, Peter J. (1997). Model and Model Building. Educational Research. Methodology any
Measurement : An Internation Handbook. Oxford : Pergamon Press.
Knezevich, S.J. (1984). Administration of Public Education. 4thed. New York : Harper and Raw.
Kouzes, James M. and Posner, Barry Z. (1995). The Leadership Challenge. San Francisco :Jossey-Bass.
Lowe, R. & Swink. R. (2000). Surviving in Changing Society. Principal The New Diversity.
Lussier, Robert. N., and Achua, Christopher. F (2001). Leadership Theory Application Skill
Development. Cincinnati, OH : South-Western College Publishing,
Magnuson, W.G. (1971). The Characteristic of Successful School Business Managers.
Doctoral Dissertation, University of Southern California, Los Angeles,
McCauley, C.D., Moxley, R.S. and Veslor, E.V. (1998). The Center for creative leadership
handbook of leadership development. San Francisco : Jossey-Bass,
Mintzberg, H. (1980). The nature of managerial work. Engle-Wood Cliff : Prentice Hall
International.
Stufflebeam, D. L. (2001). The Meta-Evaluation Imperative. American Journal of Evaluation.
Yukl, Gary A. (1998). Leadership in Organizations. New Jersey : Prentice-Hall.