ISSN: 1906-117X

วารสาร

การเตรียมความพร้อมของครูใหม่เพื่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

Learning Management Preparedness of New Teachers in the Three Southernmost Provinces
ขอบเขต: หลักสูตรการสอน

สุพรรษา สุวรรณชาตรี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ฮามีด๊ะ มูสอ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ศุภกาญจน์ บัวทิพย์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปาลิดา สายรัตทอง พัฒนพิชัย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

นูรอาซีกีน ยีสมัน

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ศักรินทร์ ชนประชา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อาฟีฟี ลาเต๊ะ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเตรียมความพร้อมของครูใหม่ในการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ และคณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา 2562 จำนวน 287 คน โดยการเลือกตัวอย่างตามความสะดวก และแบบลูกโซ่ด้วยการนำ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ และทดสอบไคว์สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาครูให้ความสำคัญต่อการเตรียมพร้อมของครูใหม่เพื่อการจัดการเรียนรู้ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้สูงสุดใน 3 ลำดับแรก ได้แก่ ข้อคำถามที่ 7 ความสามารถในการพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และสุขภาพจิตให้เข้ากับบริบทผู้เรียนในพื้นที่ ข้อคำถามที่ 4 ความสามารถในการปลูกฝัง และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมตามหลักคำสอน ประเพณี และวัฒนธรรมในพื้นที่ให้กับผู้เรียน และข้อคำถามที่ 3 ความรู้ ความสามารถในการใช้วิธีสอน เทคนิคการสอน และกลยุทธ์การสอนที่หลากหลายด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ในท้องถิ่นร่วมในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งโดยภาพรวมนักศึกษาครูให้ความสำคัญต่อข้อคำถามทั้ง 10 ข้ออยู่ในระดับมาก

Abstract

The research aimed to study learning management preparedness of new teachers in the three southernmost provinces of Thailand. The sample of this study included 287 in-service teachers from faculty of Education and Islamic Sciences (Teaching Islamic Studies), Prince of Songkla University, Pattani Campus in academic year 2019. Selecting the sample by convenience and snowball sampling. The research instrument was an online survey which open to all in-service teachers. Data analysis were reported by percentage and chi-square test. The research revealed that in-service teachers expressed that the three most important preparedness were Question 7: The ability of new teachers to develop life skills, physical and mental health appropriated to the context of local learners, Question 4: The ability of new teachers to cultivate and integrate morals, ethics, doctrines, traditions, and cultures in the area to local learners, and Question 3: Knowledge and ability of new teachers to conduct teaching methods, teaching techniques, and various teaching strategies by integrating local knowledge in learning management, respectively. However, overall in-service teachers reflected the importance of learning management preparedness to all 10 questions at a high level.

คำสำคัญ

ครูใหม่ , การจัดการเรียนรู้ , พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

Keywords

In-Service Teacher, Learning Management, Three Southernmost Provinces

เอกสารอ้างอิง

งานหลักสูตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2559). คู่มือการศึกษา ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ค้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563, จาก
http://clpd.psu.ac.th/edubachelor/2559/course/bsc/ptn_edu/index.html
งานหลักสูตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2560). คู่มือการศึกษา ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ค้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563, จาก
http://clpd.psu.ac.th/edubachelor/2560/course/bsc/ptn_edu/index.html
งานหลักสูตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2562). คู่มือการศึกษา ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2562 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ค้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563, จาก
http://clpd.psu.ac.th/edubachelor/2562/course/bsc/ptn_edu/index.html
จุฑารัตน์ คชรัตน์ วิชุนา สัตยารักษ์ และ ณัฐกา นาเลื่อน.(2561). สมรรถนะความเป็นครูมืออาชีพของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูมหาวิทยาลัยหาดใหญ่. รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ปีงบประมาณ 2556.
ฉัตรชัย หวังมีจงมี และ องอาจ นัยพัฒน์. (2560). สมรรถนะของครูไทยในศตวรรษที่ 21: ปรับการเรียน เปลี่ยนสมรรถนะ. Jornal of HRintelligence 12(2), 59-60.
ชวิน พงษ์ผจญ. (2561). สภาพปัญหาในการพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างสันติสุขของโรงเรียนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 44(2), 119.
นันทพล วิทยานนท์. (2555). รูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสันติสุขในจังหวัด ชายแดนภาคใต้. วารสารสุทธิปริทัศน์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 26(79), 151-166.
นิรุสณา เจ๊ะบู มัฮดี แวดราแม และอาฟีฟี ลาเต๊ะ, 2561. การวิจัยเชิงประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนไม่ตรงวุฒิในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินแบบไคโร (CIRO). วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 29 (3): 124-136.
ปัญญา เทพสิงห์ และอุทิศ สังขรัตน์, 2558. การสอนด้านวัฒนธรรมของครูไทยพุทธในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(4): 95-106.
พูนสุข อุดม. (2556). การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุและผลกระทบต่อการพัฒนาสมรรถนะของครูในภาคใต้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.
มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561. สะพานเชื่อมโยงไปสู่อนาคตอันสดใส : โครงการจัดการศึกษาแบบทวิ-พหุภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
มัรยัม บือซา อาฟีฟี ลาเต๊ะ และธีระยุทธ รัชชะ. (2561). การสังเคราะห์สมรรถนะครูใหม่ในการนำเข้าสู่งานสำหรับครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 12 “สานพลังเครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน” ณ โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา จ.ตรัง หน้า
มัรยัม บือซา อาฟีฟี ลาเต๊ะ และธีระยุทธ รัชชะ. (2562). ปัจจัยส่งเสริมสมรรถนะครูใหม่ในการนำเข้าสู่งานสำหรับครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 6 “Innovative Research and Education beyond the Future” วันที่ 18-19 กรกฎาคม 2562 โรงแรมหรรษา เจบี อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. หน้า 1400-1415.
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580). ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580). (Online).
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDF. 5 มิถุนายน 2563.
รวีวรรณ ขำพล. (2555). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารกิ่งวิชาการ. 33(3), 79.
วรรณิภา ศุกรียพงศ์, คนึงนิจ พันธุรัตน์ และ รัชเนศ ธนทวีวรกุล. (2552). คุณลักษณะความเป็นครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ว า ร ส า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(4).
ศกลวรรณ สุขมี สมชาย เทพแสง และปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2559). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารบริหารการศึกษา มศว. 13(25), 89.
สงวน อินทร์รักษ์ และนพดล เจนอักษร. (2555). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเวลาเรียนให้ครบตามที่กำหนดในหลักสูตรของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 3(1), 15-23.
สำนักงานศึกษาธิการภาค 8. (2560). การศึกษา วิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส). กลุ่มตรวจราชการและติดตามประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการภาค 8.
Abidin, M.Z., Norwani, N.M., & Musa, K. (2016). Teacher Leadership Knowledge to Pre-Service Teachers. International Journal of Academic Research in Business and Social Science, 6(11): 351-360.
Christou, C., Phillipou, G., Menon, M.E. (2001) .Preservice Teachers' Self-Esteem and Mathematics Achievement. Contemporary Educational Psychology, 26(1): 44-60.
Competency of Thai Teacher in 21st Century: Wind of Change.
Corcoran, R.P. & O’Flaherty, J. (2018). Factors that predict pre-service teachers’ teaching performance, Journal of Education for Teaching, 44:2, 175-193, DOI: 10.1080/02607476.2018.1433463
Maryam Buesa, Afifi Lateh, Teerayout Rascha. 2018. A Synthesis of Teachers Induction Competency for teachers under the Basic Education Commission in The Three Southern Border Provinces
Maryam Buesa, Afifi Lateh, Teerayout Rascha. 2019. Factors Competency Promotion Teachers Induction under the Basic Education Commission in The Three Southern Border Provinces.
Niroosna Cheboo, Mahdee Wadramae, Afifi Lateh. An Evaluation Research of the Proficiency Development of non-direct Qualified Teacher in Three Southern Border Provinces Applying CIRO Evaluation Model.
Punya Tepsing and Utit Sangkarat The Teaching of Culture by Buddhist Thai Teachers in the Three Southern Border Provinces of Thailand.
Reynolds, J. (2016). "Secondary Preservice Teachers' Perceptions of Preparation to Teach in Urban Schools" Walden Dissertations and Doctoral Studies. 2685.
https://scholarworks.waldenu.edu/dissertations/2685
Sakonwan Sukmee, Somchai Thepsang, Preeyaporn Wonganuttaroch A Training Curriculum Development for Teachers Expected to be Learning Persons in Basic Educational Institutes under Special Development Zone of Southern Border Provinces.
Taylor, R., Kumi-Yeboah, A., Ringlaben, R. P. (2016). Pre-Service Teachers' Perceptions towards Multicultural Education & Teaching of Culturally & Linguistically Diverse Learners. Multicultural Education, 23(4): 42-48.
Wenner, G. (2001). Science and Mathematics Efficacy Beliefs Held By Practicing and Prospective Teachers: A 5-Year Perspective. Journal of Science Education and Technology, 10(2): 181 – 187.